วันจันทร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2555

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network : LAN)
 เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นกันในองค์กรโดยส่วนใหญ่ลักษณะของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง LAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆ กัน เช่น อยู่ภายในอาคารหรือหน่วยงานเดียวกันเป็นต้น
2.เครือข่ายเมือง(Metropolitan Area Network : MANX)
เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงใหญ่ขึ้น ภายในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง เช่น เมืองเดียวกันเป็นต้น
3.เครือข่ายบริเวณกว้าง( Wide Area Network :WAN)
เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับ โดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง LAN และ MAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียว ดังนั้นเครือข่ายนี้จึงครอบคลุมไปทั่วประเทศ หรือทั่วโลก เช่น อินเตอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นเครือข่ายสาธารณะที่ไม่มีใครเป็น
รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย (Network Topology)
 
การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายรวมถึงหลักการไหลเวียนข้อมูลในเครือข่ายด้วย โดยแบ่งโครงสร้างเครือข่ายได้ 4 แบบ คือ
(
เครือข่ายแบบดาว)      (เครือข่ายแบบวงแหวน)
(
เครือข่ายแบบบัส)        (เครือข่ายแบบต้นไม้)
 
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
 เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอืนเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเช็คอีเมลการท่องเว็บไซต์ จากการดูแลเว็บ และกานส่งข้อตความติดต่อสือสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่
          โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ microsoftoutlook,mozzila thunderbird
  • โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ microsoftexplorer,mozzila firefox
  • โปรแกรม ประชุมทางไกล videoconference อาทิ microsoft netmting
  • โปรแกรมส่งข้อความด่วน instantmessaging อาทิ MSN messenger/windows messenger, ICQ
  • โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต อาทิ PIRCH,MIRCH
  •                                                     ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
    การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ง่าย จึงมีผูสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานด้านการจัดการข้อมูล
                                                       ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการใช้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลางถ้าเปรียบเทียบกับชิวิตประจำวันเเล้ว เรามีภาษาใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้เรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย ภาษาเครื่อง machine language
 เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้เลข 0 และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบการเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง กานใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเขาใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร
                             ภาษาแอสเซมบลี assenbly languages
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลอความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์แต่อย่างไรก็ตามภาษาเเอสเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปละภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์ assembler เพื่อแปละชุดภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง
                             ภาษาระดับสูง high-level languages
        เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า statements ที่มีลักษณะเป็ฯประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งคอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่านขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็น  
                              ภาษาเครื่อเงนั้นมี 2 ชนิดด้วยกันคือ
คอมไพเลอร์ compiler และ อินเทอร์พรีเตอร์ interpreter
คอมไพเลอร์  จะทำการแปละโปรแกรมที่เขียนเป็ฯภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้ป็นภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้นอินเทอร์พรีเตอร์  จะทำการแปลทีละคำสั่ง แล้ว ให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้นเมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์และอินเทอร์พรีเตอร์จึงอยู่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น